เมื่องานก่อสร้าง เกิดปัญหาเสาเข็มเยื้องศูนย์

การก่อสร้าง เมื่อเสาเข็มเยื้องศูนย์ 

การตรวจสอบเสาเข็มกลุ่มเยื้องศูนย์
   การทำเสาเข็มไม่ว่าจะเป็นเสาเข็มตอกหรือเสาเข็มเจาะเราคงหลีกเลี่ยงเสาเข็มเยื้องศูนย์ไม่ได้การตรวจสอบและแนวทางในการแก้ไขปัญหาเสาเข็มเยื้องศูนย์มีดังต่อไปนี้




1.    ตรวจสอบเสาเข็ม  ต้องคำนวณแรงปฎิกิริยาในเสาเข็มซึ่งของเดิมจะใช้ไม่ได้ แรงอัดในเสาเข็มอาจเปลี่ยนแปลงไปถ้ามีการเยื้องศูนย์ โมเมนต์ที่เกิดจากการเยื้องศูนย์อาจทำให้เสาเข็มแต่เดิมรับแรงอัดกลับกลายมาเป็นรับแรงดึง ต้องตรวจสอบ Dowel ของเสาเข็มว่ามีเพียงพอหรือไม่และตรวจสอบว่าแรงในเสาเข็มจะต้องไม่เกินน้ำหนักบรรทุกปลอดภัยหรือไม่  การเยื้องศูนย์ของเสาเข็มอาจทำให้เกิดโมเมนต์ในเสาเข็มซึ่ง งานเสาเข็มตอกไม่สามารถรับโมเมนต์ได้ อาจจะต้องใส่เหล็กในเสาเข็มเพิ่มถ้าสามารถทำได้ หรือใช้วิธีกำจัดโมเมนต์ทิ้งไปโดยวิธีการตอกเสาเข็มแซมจะกล่าวต่อไป

2.   การคำนวณศูนย์ถ่วงของกลุ่มเสาเข็ม   เมื่อเสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ ทำให้ CG ของกลุ่มเสาเข็มเปลียนไปต้องหาตำแหน่งของจุด CG ใหม่ เพราะว่าCg จะเป็นตัวบอกว่าการเยื้องศูนย์ดังกล่าวนั้น เยื้องไปมากหรือน้อยเพี่ยงใด         ตำแหน่งจดศูนย์ถ่วงของกลุ่มเสาเข็มหาได้จะกล่าวในโอกาสต่อไป 
3.   การหาแรงปฎิกิริยา ในเสาเข็ม   (รายละเอียดจะกล่าวไว้ในโอกาสต่อไป)     และ  เมื่อได้แรงปปฎิริยาในเสาเข็มแต่และต้นแล้วก็สามารถทราบถึงภาระในการรับนำหนักของเข็มที่เปลี่ยนไปจากเดิมและต้องไม่เกินน้ำหนักปลอดภัยของเข็มต้นนั้นๆด้วย

4.     ตรวจสอบ เสาตอม่อ เมื่อเกิดการเยื้องศูนย์ของเสาเข็มแล้ว โมเมนต์ที่เพิ่มขึ้นอาจจะดัดเสาตอม่อซึ่งต้องพิจารณาด้วยว่าตอม่อเดิมเหล็กรับโมเมนต์และแรงเฉือนเพียงพอหรือไม่ 

5.      ตรวจสอบฐานราก เมื่อเสาเข็มเยื้องศูนย์ ก็จะทำให้เกิดโมเมนต์ในฐานรากเพิ่มขึ้นด้วย ต้องตรวจสอบเหล็กเสริมในฐานรากว่าเพียงพอหรือไม่



  แนวทางการแก้ไขปัญหาเมื่อเกิดการเยื้องศุนย์ระหว่างจุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มเสาเข็มและฐานราก

1.     การตอกเสาข็มแซม  หลักของการทำเสาเข็มแซม คือ พยายามให้จุดศูนย์ถ่วงของเสาเข็มอยู่ตรงกับตำแหน่งเสาตอม่อเพื่อป้องกันการเยื้องศูนย์ของเสาเข็ม ซึ่งอาจทำให้โมเมนต์ทั้งในฐานรากและตอม่อไม่ตรงตามที่ออกแบบไว้แต่เดิม อาจจะต้องเพิ่มปริมาณของฐานรากหรือเหล็กเสริมด้วย

2.  การหมุนฐานราก เป็นวิธีที่เปลี่ยนแกนของฐานราก เสาเข็มกลุ่มใหม่จะมีจุดศูนย์ถ่วงอยู่ตำแหน่งเสาตอม่อทำให้แรงปฎิริยาในเสาเข็มไม่เปลี่ยนแปลง แต่จะมีข้อเสียคือจะต้องใช้เสาเข็มใหม่แทนเข็มเก่าซึ่งสิ้นเปลือง
3.     การทำคานยึดรั้ง   เมื่อเกิดโมเมนต์ในฐานรากจะต้องกำจัดโมเมนต์โดยทำคานยึดรั้งหรือฐานรากร่วม ยึดไว้กับโครงสร้างด้านใน เพื่อทำลายโมเมนต์ที่เกิดขึ้
.........................................................................................................................................  
จัดทำบทความโดย: BUILDTHIAL .COM  
วิศวกรออกแบบ :    (Civil Design Engineer For Buildthai .com)
สงวนลิขสิทธิ์บทความ  ห้ามนำไปเผยแพร่ ก่อนได้รับอนุญาตจาก ;ก่อสร้างไทยดอท คอม
ความทั้งหมดในเว็บนี้ สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2539 
ผู้ใดฝ่าฝืนถือว่าทำผิดกฏหมายฐานละเมิดลิขสิทธิ์และจะถูกดำเนินคดีตามกฏหมาย





การก่อสร้าง - ต่อเติม โดยใช้เข็มหกเหลี่ยมกลวง

การก่อสร้าง - ต่อเติม โดยใช้เข็มหกเหลี่ยมกลวง 


เคยมีลูกค้าถามว่า ก่อสร้างแบบนี้ แบบนั้น สามารถ ใช้เข็มหกเหลี่ยมได้ไหม




ปกติแล้วเราจะใช้เสาเข็มหกเหลี่ยมในงานขนาดเล็กๆ รับน้ำหนักไม่มาก งานต่อเติมทั่วไป
สำหรับงานรั้ว งานบ้านพักอาศัยขนาดปานกลาง หรืออื่น ๆ ที่รับน้ำหนักไม่มากนัก
แต่เสาต้นที่รับน้ำหนักมากอาจต้องใช้เสาเข็มจำนวนมาก อาจจะมากกว่า 10 ต้น
แล้วแต่ขนาดของช่วงเสา (ขนาดห้อง) ซึ่งหากใช้เสาเข็มจำนวนมาก
จะทำให้ฐานรากมีขนาดใหญ่ ซึ่งไม่ประหยัด และอาจส่งผลต่อความปลอดภัย จำเป็นต้องปรึกษา
วิศวกรโครงสร้างเพื่อคำนวนน้ำหนักบรรทุกปลอดภัย




เราลองมาดุกันว่าเสาเข็มหกเหลี่ยมที่ว่ารับน้ำหนักได้ประมาณเท่าไหร่


   ยกตัวอย่างเช่น ในกรุงเทพ ฯ

ข้อบัญญัติ กทม. ความฝืดช่วง 7 เมตร แรกนั้น 600 kg/m^2 เสาหกเหลี่ยมกลวงมีเส้นรอบรูป 0.45 เมตร ดังนั้นแรงฝืด = 0.45 * 600 = 270 kg/m ดังนั้น

เสาเข็มยาว 3 เมตร รับน้ำหนักปลอดภัยได้ = 270 * 3 = 810  kg

เสาเข็มยาว 4 เมตร รับน้ำหนักปลอดภัยได้ = 270 * 4 = 1080 kg

เสาเข็มยาว 5 เมตร รับน้ำหนักปลอดภัยได้ = 270 * 5 = 1350 kg

เสาเข็มยาว 6 เมตร รับน้ำหนักปลอดภัยได้ = 270 * 6 = 1620 kg

การใช้เสียมขุดดินลงไปเป็นรู ลึกลงไปมาก ๆ แล้วจึงใช้เสาเข็มเสียบลงไปจะทำให้ดินสูญเสียค่าความฝืดในการยึดเกาะเสาเข็ม

...................................................................................................................


จัดทำบทความโดย: Buildthai .Com
วิศวกรออกแบบ :(Civil Design Engineer)
สงวนลิขสิทธิ์บทความ  ห้ามนำไปเผยแพร่ ก่อนได้รับอนุญาตจาก ;ก่อสร้างไทยดอท คอม
ความทั้งหมดในเว็บนี้ สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2539
ผู้ใดฝ่าฝืนถือว่าทำผิดกฏหมายฐานละเมิดลิขสิทธิ์และจะถูกดำเนินคดีตามกฏหมาย

งานก่อสร้าง กับการใช้เสาเข็มตอก

งานก่อสร้าง กับการใช้เสาเข็มตอก


เสาเข็มตอกเป็นเสาเข็มประเภทหนึ่งที่ เรานิยม ใช้เพื่อรับน้ำหนักของอาคารบ้านเรือน เสาเข็มตอกก็มีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันออกไป 
ไปเมื่อเปรียบเที่ยบกับเสาเข็มชนิดอื่นๆ  แต่อย่างไรก็ตามแล้วการที่จะเลือกใช้เสาเข็มประเภทไหนนั้นเป็นหน้าที่ของวิศวกรผู้ออกแบบ
จะเป็นคนเลือก เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพดิน  สิ่งแวดล้อมรอบข้าง  เพื่อให้เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย และลดต้นทุนการ
ก่อสร้าง ให้มากที่สุด    ในที่นี้เรามาดูการตรวจสอบ การทำเสาเข็มตอกกันว่า วิธีการอย่างไร



การตรวจสอบการตอกเข็มมีขั้นตอนดังต่อไปนี้

1.      ผู้ควบคุมงานหรือวิศวกร ควรศึกษาแบบแปลนก่อสร้างให้เข้าใจ เพื่อวางแผนการตอกเสเข็มให้สามารถตอกเข็มได้อย่างต่อเนื่องและย้ายปั้นจั้นให้น้อนที่สุด
2.      ศึกษารายการคำนวนเสาเข็ม Blow cout น้ำหนักของลูกตุ้ม ขนาดของเสาเข็ม ความยาวระยะยกลูกตุ้ม ให้เข้าใจเพื่อการตรวจสอบก่อนการตอกเข็ม



3.      เตรียมสาธารณูปโภคต่างๆ เช่นไฟฟ้า ,น้ำประปา เส้นทางลำเลียงเสาเข็มเป็นต้น
4.      ตรวจสอบความแข็งแรงและตำแหน่งของปั้นจั่นให้ตรงกับตำแหน่งของเสาเข็มที่จะตอก
5.      ตรวจสอบอายุของเสาเข็ม รอยแตกร้าวต่างๆของเสาเข็ม
6.      ตรวจสอบความได้ดิ่งของเสาเข็มทั้งสองด้านเมื่อเสาเข็มได้ดิ่งแล้วให้ทำเครื่องหมายในแนวราบเพื่อไว้ตรวจสอบการเยื้องศูนย์ของเสาเข็มระหว่างตอก
7.      ระหว่างการตอกควรตรวจสอบดิ่งของเสาเข็มเป็นระยะๆ และระหว่างตอกควรสังเกตเชือกสลิงตอนที่ลูกตุ้มตกว่าหย่อนหรือป่าวเพื่อตรวจสอบระยะยกลูกตุ้ม
8.      ควรหยุดตอกเมื่อปลายเสาเข็มส่วนแรกอยู่จากระดับดินประมาณ 30 ซม. เพื่อเตรียมเชื่อมต่อความยาว
9.      ตรวจสอบรอยเชื่อมให้เคาะตะกรันเชื่
อมออกให้หมด หากพบว่ารอยเชื่อมยังไม่สมบูรณ์ให้ทำการเชื่อมซ้ำให้รอยเชื่อมเสมอกับผิวของเสาเข็ม  ก่อนตอกต้นที่2 ให้ยกลูกตุ้มกระแทก 2-3 ครั้งแล้วตรวจสอบความสมบูรณ์ของรอยเชื่อมอีกครั้งหากไม่มีข้อบกพร่องให้ตอกต่อไปจนถึงระยะนับ Blow Count
10.  เมื่อตอกเสาเข็มจนถึงระยะนับ Blow Count  ให้เริ่มนับจำนวนครั้งที่ใช้ในการตอกเสาเข็มที่จมไปทุกๆช่วง 30 ซม.ตามที่ผู้ออกแบบกำหนด
11.  กรณีตอกเสาเข็มจนเสมอระดับดินแล้วแต่ยังไม่ผ่านการนับ Blow Count ให้ถอดหมวกครอบเข็มออกแล้วติดตั้งหัวส่งเสาเข็มเพื่อตอกเข็มต่อให้ Blow Count ตามผู้ออกแบบกำหนด
12.  ตรวจสอบ Last 10 blow เป็นการเทียบอัตราการทรุดตัวจากการตอกจำนวน10ครั้งจะกระทำซ้ำกันจำนวน 3 ครั้งตามขั้นตอนดังนี้
12.1    ในกรณีที่เสาเข็มโผล่เหนือดินการวัดระยะ 10 ครั้งสุดท้ายได้โดยตรงจากทำเส้นไว้ที่เสาเข็ม แต่ถ้าใช้หัวส่งเสาเข็มต้องใช้อุปกรณ์ช่วยวัดการทรุดตัวเช่น ท่อPVC ค้ำยันระหว่างปั้นจั่นกับพื้นดินแล้วขีดเส้นอ้างอิงก่อตอกเข็ม
12.2    ใช้ปั้นจั่นตอก 10 ครั้งแล้ววัดระยะการทรุดตัว ทำซ้ำกัน 3 รอบ การทรุดตัวที่วัดได้จะต้องไม่เกินค่าที่ผู้ออกแบบกำหนด  ถือว่าเสร็จสิ้นการตอกเสาเข็มต้นนั้น





............................................................................................................

จัดทำบทความโดย: Buildthai.com
วิศวกรออกแบบ :(Civil Design Engineer For Buildthai.com)
สงวนลิขสิทธิ์บทความ  ห้ามนำไปเผยแพร่ ก่อนได้รับอนุญาตจาก ;ก่อสร้างไทยดอท คอม
ความทั้งหมดในเว็บนี้ สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2539 
ผู้ใดฝ่าฝืนถือว่าทำผิดกฏหมายฐานละเมิดลิขสิทธิ์และจะถูกดำเนินคดีตามกฏหมาย







ก่อสร้างอาคารพักอาศัยและสำนักงาน 3 ชั้น หนองจอก

 ก่อสร้างอาคารพักอาศัยและสำนักงาน  3 ชั้น หนองจอก


แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 

แบบออฟฟิต 3 ชั้น 


โฮมออฟฟิศ สไตล์ โม เดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น

โฮมออฟฟิศ สไตล์โมเดิ ร์ น







แบบบ้านสวยสวย ทรงไทยประยุกต์

 ก่อสร้างอาคารพักอาศัย 2 ชั้น ทรงไทยประยุกต์ กาฬสินธุ์

โครงการนี้เป็นโครงการก่อสร้างบ้านพักอาศัยเป็นอาคารพักอาสัยหลายๆหลังตั้งอยู่ในพื้นที่เดียวกัน โครงการตั้งอยู่ที่จังหวักกาฬสินธุ์  บริษัทฯรับผิดชอบในการ สำรวจออกแบบพร้อมก่อสร้างอาคารจนแล้วเสร็จ อาคารหลังนี้ออกแบบโครงสร้างฐานราก โดยเป็นฐานรากแผ่มีการเจาะทดสอบทดสอบคุณสมบัติของดิน เพื่อน้ำไปใช้ในการออกแบบโครงสร้างฐานราก โครงการนี้ออกแบบเป็นบ้านทรงไทยประยุกต์ให้เข้ากับบรรยากาศลูกทุ่งโดยแต่มีความทันสมัยเข้าสอดแทรก เพื่อให้ดุไม่ตกยุกต์มากนัก โครงสร้างทั่วไปก็เป็นโครงสร้าง คสล.คาน-พื้น แบบง่ายๆ  โครงการนี้สร้างแล้วเสร็จมาเปิดใช้งานมาประมาณ 5 ปี ได้แล้ว บ้านหลังนี้เป็นจุดเด่นของคนในพื้นที่เลยทีเดียวครับ 

ยินดีหากต้องการเยี่ยมชมผลงานครับ 

#ออกแบบพร้อมก่อสร้าง

#รับก่อสร้างบ้าน

#ก่อสร้างหอพัก

#ก่อสร้างอพาร์ทเม้นท์ 

#ทีริชคอนสทรัคชั่น 

ติดต่อขอดูผลงานก่อสร้างได้ที่ 

โทร 081-493-5452 ,02 988 5559 

line ID : 08630071115 หรือคลิ๊กลิ้งค์ 

หรือติดตามเยี่ยมชมแบบบ้านสวยได้ที่ลิ้งค์ ด้านล่างได้เลยครับ




บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์


บ้านทรงไทย ประยุกต์
บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์




บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์


บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์

บ้านทรงไทย ประยุกต์